tworiversem.net

tworiversem.net

ปัญหา การ มอง เห็น ใน ผู้ สูงอายุ

โรคตาแห้ง มีปัจจัยการเกิดมาหลายๆ อย่าง ได้แก่ ต่อมไขมันเปลือกตาที่อุดตัน หรือการมีโรคประจำตัว เช่น โรคไทรอยด์ จะส่งผลให้น้ำหล่อเลี้ยงตาที่ทำหน้าที่ให้ความชุ่มชื้นแก่ดวงตาไม่เพียงพอ ทำให้เกิดการระคายเคืองและแสบตา หากปล่อยไว้ไม่ได้รับการรักษา อาจจะทำให้เปลือกตาดึงรั้งขนตาให้ลงมาทิ่มตา จนทำให้กระจกตาเป็นแผลได้ อาการ รู้สึกไม่สบายตา เหมือนมีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในตา เคืองตาหรือมีน้ำตาไหลออกมา 5.

โรคตาในผู้สูงอายุ อุปสรรคในการใช้ชีวิตที่อาจนำมาซึ่งการสูญเสียการมองเห็น

สายตามัว หรือเห็นภาพซ้อน 2. ตาสู้แสงไม่ได้ จะมัวเหมือนมีฝ้าหรือหมอกมาบัง ทำให้มีปัญหาในการขับขี่ยานพาหนะ 3. เห็นสีผิดไปจากเดิม 4. ต้องเปลี่ยนแว่นสายตาบ่อยๆ ต้อกระจกจะเป็นมากขึ้นตามอายุที่มากขึ้น สายตาก็มัวลงเรื่อยๆ การผ่าตัดหรือการสลายต้อกระจก จะทำได้เร็วหรือช้า ขึ้นอยู่กับความจำเป็นในการใช้สายตาของผู้ป่วย แต่ถ้าต้อสุกแล้วจำเป็นต้องสลายต้อโดยเร็ว เพราะถ้าปล่อยไว้นอกจากจะเกิดอาการปวดตาอย่างรุนแรงแล้ว อาจเกิดต้อหินแทรกซ้อนได้ 3. ต้อหิน (GLAUCOMA) เกิดจากการสร้างน้ำหล่อเลี้ยงในลูกตามากกว่าปกติ และมีการปิดกั้นการไหลเวียนของน้ำในลูกตา ทำให้ความดันในลูกตาเพิ่มสูงขึ้น ไปทำลายประสาทตาจนเป็นเหตุให้มองไม่เห็น อาการของโรคต้อหิน คือ 1. ตามัว มองวัตถุในที่มืดลำบาก อาจมองเห็นเป็นสีรุ้งรอบๆ ดวงไฟ 2. สูญเสียสายตารอบนอกของลานสายตา 3. ปวดตาอย่างรุนแรง ร่วมด้วยคลื่นไส้ อาเจียน และปวดศีรษะมาก ในกรณีที่เป็นต้อหินชนิดรุนแรง รักษาโดยการใช้ยาหยอดตา และยารับประทานเพื่อลดความดันในลูกตา บางรายจำเป็นต้อง รักษาโดยใช้แสงเลเซอร์ และการผ่าตัด 4. จุดดำลอยไปมา (VITREOUS FLOATERS) เกิดจากน้ำวุ้นในลูกตาเสื่อมสภาพหรือตกตะกอน มีอาการเห็นเป็นจุดดำหรือเส้น หรือไยแมงมุม โดยทั่วๆ ไปจะไม่มีอันตราย นอกจากจะพบการเสื่อมของจอประสาทตาฉีกขาด ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการตรวจจากจักษุแพทย์ รักษาด้วยการใช้ความเย็นจี้หรือเลเซอร์ แต่ถ้าพบมีจอตาหลุดลอกก็ต้องรักษาด้วยการผ่าตัด 5.

ดร. ทศพร คำผลศิริ บทความ ติดต่อเราได้ที่

การดูแลผู้สูงอายุที่มีการมองเห็นบกพร่อง - พาไปหาหมอ

ตาเป็นอวัยวะที่สำคัญยิ่งอย่างหนึ่งของร่างกาย เมื่อเราอายุมากขึ้น ตาจะค่อยๆ เสื่อมสภาพลงไป ถ้าเราไม่ระวังรักษาสุขภาพตา ก็อาจทำให้เกิดปัญหาหรือความผิดปกติขึ้นได้ ดังนั้น ควรตรวจสุขภาพตาอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง สำหรับผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป การมีความรู้เกี่ยวกับโรคตา จะไม่สามารถป้องกันการสูญเสียดวงตาอย่างถาวรได้ โดยเฉพาะผู้สูงอายุซึ่งมักจะประสบปัญหาเกี่ยวกับโรคตาอยู่เสมอ โรคและปัญหาทางตาที่มักเกิดขึ้นในผู้สูงอายุ มีดังนี้ 1. สายตาสูงอายุ (PRESBYOPIA) คนทั่วไปมักเข้าใจกันผิดว่าเป็นสายตายาว แต่แท้จริงเป็นการเสื่อมสภาพตามอายุ จะเกิดกับทุกคนที่อายุประมาณ 40 ปีขึ้นไป เกิดจากการที่เลนส์แก้วตาขาดความยืดหยุ่น ทำให้ต้องใส่แว่นตาเวลามองใกล้ เพื่อปรับเปลี่ยนกำลังรวมแสงให้เพิ่มขึ้น สายตาสูงอายุเกิดได้ทั้งกับสายตาปกติ สายตาสั้น สายตายาว และสายตาเอีย งแก้ไขโดยการใช้เลนส์ที่มีกำลังรวมแสงมากขึ้น คือนูนมากขึ้น หรือเว้าน้อยลงเวลาดูใกล้ สายตาสูงอายุ ต่างจากสายตายาวตรงที่สายตายาวต้องใช้เลนส์นูนเพื่อมองในระยะใกล้และไกล **ข้อแตกต่างระหว่างสายตายาว และสายตาสูงอายุ (ลงตาราง)** 2. ต้อกระจก (CATARACT) เมื่ออายุมากขึ้นเลนส์แก้วตาจะแข็งและขุ่นตัว สายตาจึงมัวลง จะเร็ว หรือช้า มาก หรือน้อย ขึ้นอยู่กับระดับและตำแหน่งของความขุ่นฝ้าในเนื้อเลนส์ ถ้าเป็นต้อกระจกในบริเวณขอบรอบนอก ผู้ป่วยก็ยังคงมีสายตาที่คมชัดเป็นปกติ แต่ถ้าเป็นบริเวณตรงกลางเนื้อเลนส์ จะรบกวนสายตามาก อาการที่พบได้บ่อยของ "ต้อกระจก" มีดังนี้ 1.

ห้อง เช่า ชลบุรี ราย เดือน ลํา โพ ง กลาง แหลม

โรคตาในผู้สูงอายุ

toyota altis cng มือ สอง

ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ เป็นกลุ่มผลไม้รสเปรี้ยวที่เป็นแหล่งของวิตามินซี เช่น โกจิเบอร์รี่ ราสเบอร์รี่ สตรอเบอร์รี่ แบล็กเบอร์รี่ มัลเบอร์รี่ ในผลไม้เหล่านี้จะมีสารที่ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ และมีสารที่ช่วยบำรุงสายตา ช่วยป้องกันไม่ให้เซลล์ดวงตาถูกทำลายและลดความเสี่ยงของการเกิดต้อกระจกได้ 2. ผักใบเขียว เช่น ผักบุ้ง ตำลึง กวางตุ้ง คะน้า ผักเหล่านี้จะอุดมไปด้วยสารอาหารสำคัญอย่าง ลูทีนและ ซีแซนทีน ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระและช่วยลดความเสื่อมของจอประสาทตาและการเกิดต้อกระจกได้ 3. ไข่ ในไข่แดงจะเป็นแหล่งของสารอาหารลูทีน และซีแซนทีน รวมไปถึง ซิงค์ ด้วย ทั้งหมดนี้ช่วยลดความเสี่ยงของการเสื่อมของจอประสาทตา ทำให้เซลล์ต่างๆ ในดวงตาแข็งแรงอยู่เสมอ 4. แครอท แครอทขึ้นชื่อว่าเป็นอาหารบำรุงสายตาชั้นดี ที่อุดมไปด้วยเบต้าแคโรทีน วิตามินเอ และลูที ช่วยบำรุงกระจกตา ป้องกันไม่ให้เซลล์ดวงตาถูกทำลายจากแสงแดดและรังสีอันตรายต่างๆ และยังช่วยส่งเสริมการทำงานของจอประสาทตา ไม่ให้เสื่อมสภาพก่อนวัยอันควร 5. อะโวคาโด มีประโยชน์ในการบำรุงสายตามากๆ เพราะมีสารอาหารจำเป็น เช่น ลูทีน เบต้าแคโรทีน วิตามินบี 6 และวิตามินซี โดยจะช่วยบำรุงสายตา ป้องกันอาการตาฝ้าฟาง ช่วยชะลอการเสื่อมสภาพดวงตา 6.

จุดรับภาพเสื่อม (MACULAR DEGENERATION) อาการคือ มีเงาดำปรากฏอยู่ตรงกลางภาพ ทำให้อ่านหนังสือไม่ชัดแม้จะใช้แว่นดูใกล้ๆ แล้วก็ตาม ถ้าเป็นในระยะเริ่มแรกภาพจะบิดเบี้ยว การรักษาโดยการใช้แสงเลเซอร์อาจช่วยยับยั้งการลุกลาม ของโรคไม่ให้มีขนาดกว้างขึ้น 6. จอประสาทเสื่อมจากเบาหวาน (DIABETIC RETINOPATHY) ผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานแล้วไม่ได้รับการรักษาที่ดี หรือเป็นเบาหวานมานาน ส่วนใหญ่จะมีการเสื่อมของจอประสาทตา และมีโรคแทรกซ้อน เช่น ต้อหิน เป็นต้น การรักษา จักษุแพทย์สามารถใช้แสงเลเซอร์ช่วยยับยั้งการเสื่อมของจอประสาทตาได้ ดังนั้นผู้ป่วยที่เป็นเบาหวาน ควรจะได้รับการตรวจจอประสาทตาเป็นประจำ เพื่อหาทางป้องกัน และรักษาก่อนที่จะเป็นมากขึ้นจนแก้ไขไม่ได้ โรคต่างๆ ที่ได้กล่าวมาเป็นโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุได้เสมอ ดังนั้นหากดวงตา มีอาการผิดปกติ ควรรีบไปพบจักษุแพทย์ทันที บทความโดยจักษุแพทย์ โรงพยาบาลจักษุ รัตนิน

  • โรคตาในผู้สูงอายุ
  • สี พื้น หลัง สี เขียว
  • ห้อง เช่า เดือน ละ 1000 นนทบุรี
  • Q & A:ตอบคำถาม นาฬิกาปลุกเองตอนเที่ยงคืนและปิดเสียงไม่ได้ต้องทำอย่างไร วิธีใช้การตั้งปลุก CASIO B650 - YouTube

การดูแลเพื่อป้องกันการเกิดอันตรายจากการมองเห็นบกพร่อง credit pic by user18526052 – 3. 1 ดัดแปลงสิ่งแวดล้อมที่ช่วยในการมองเห็น ควรแนะนำผู้สูงอายุดังนี้: จัดให้มีแสงสว่างเพียงพอ ควบคุมแสงที่เข้าตาและปรับความมืดความสว่างให้เหมาะสม ควรใช้หลอดไฟสีขาวนวลขนาด 60-75 วัตต์ ติดไว้เหนือศีรษะ ม่านที่ใช้ในห้องน้ำควรเป็นพลาสติกสีใส ไม่ควรเป็นสีทึบหรือมีลวดลาย ควรใช้ม่านสีอ่อนๆ ติดบริเวณหน้าต่างเพื่อลดแสงที่เข้าตา ควรติดไฟดวงเล็กๆบริเวณทางเดินตอนกลางคืนหรือเก็บไฟฉายไว้ที่เตียง บริเวณบันไดหรือทางเดินควรให้มีแสงสว่างเพียงพอ 3. 2 การใช้สีตัดกัน ควรแนะนำให้ปฏิบัติดังนี้: ควรใช้เทปหรือทาสีสดๆไว้บริเวณขอบบันไดทุกขั้น โดยเฉพาะขั้นแรกและขั้นสุดท้าย ควรใช้ถ้วยชามที่มีสีตัดกันสำหรับใส่อาหาร ไม่ควรให้สีกลมกลืนกัน โถส้วมควรมีสีตัดกับผนังและพื้นห้องน้ำ ควรใช้สบู่คนละสีกับอ่างล้างหน้าหรือที่วางสบู่ ภาชนะที่มีด้ามหรือมือถือควรใช้สีสดๆ สวิตช์ไฟควรตกแต่ขอบไม่ให้มีสีเดียวกับฝาผนัง 3. 3 การดัดแปลงสิ่งแวดล้อมอื่นๆ: ไม่ควรเปลี่ยนที่หรือจัดวางเครื่องเรือนใหม่โดยไม่แจ้งให้ผู้สูงอายุทราบ แนะนำให้ผู้สูงอายุหยุดนิ่งสักครู่ขณะเปลี่ยนที่จากที่สว่างไปที่มืดหรือจากที่มืดไปที่สว่างเพื่อให้เวลาปรับสายตา แนะนำให้ผู้สูงอายุใช้เท้าและมือช่วยในการนำทางในบริเวณที่มีขอบกั้น ทางต่างระดับ หรือขอบเก้าอี้ 4.

Sat, 20 Nov 2021 00:23:45 +0000