tworiversem.net

tworiversem.net

ปัจจัย เสี่ยง ต่อ การ เกิด อุบัติเหตุ

  1. ปัจจัยด้านถนนที่เกี่ยวข้องกับการเกิดอุบัติเหตุ - ศูนย์ข้อมูล&ข่าวสืบสวนเพื่อสิทธิพลเมือง (TCIJ)
  2. สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน
  3. 2.ทฤษฎีการเกิดอุบัติเหตุ - อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
  4. บทความพิเศษ : ถอดบทเรียนเรือล่มอยุธยา 3ปัจจัยเสี่ยง-6ข้อควรแก้ไข #SootinClaimon.Com | SootinClaimon.Com
  5. 5.2 สาเหตุการเกิดอุบัติภัยในการทำงาน - 2001-1004 Vocational hygiene and safety
  6. 7พฤติกรรมเสี่ยง สาเหตุหลักของการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน - Thaihealth.or.th | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

หลีกเลี่ยง 5 ปัจจัยเสี่ยงเกิดอุบัติเหตุ อัตราความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดอุบัติเหตุก็จะลดน้อยลงจนแทบไม่มีโอกาสเกิดขึ้น การหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่อาจจะเกิดอุบัติเหตุ และการเตรียมความพร้อมของผู้ขับขี่ รถยนต์ พฤติกรรมในการขับขี่ การปฏิบัติตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด ซึ่งทั้งหมดกระทำอยู่บนความไม่ประมาทแล้วละก็ อัตราความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดอุบัติเหตุก็จะลดน้อยลงจนแทบไม่มีโอกาสเกิดขึ้น ทีมงานจึงได้รวบรวม 5 ปัจจัยเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ มีดังนี้ 1. ใช้ความเร็วสูงในการขับขี่ การใช้ความเร็วสูงขณะขับขี่มีความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดอุบัติเหตุเพิ่มสูงขึ้นเมื่อเทียบกับการขับขี่ด้วยความเร็วปกติ และเมื่อยามที่ผู้ขับขี่ต้องใช้เส้นทางที่ไม่คุ้นเคยแล้วละก็ การใช้ความเร็วสูงก็จะยิ่งเสี่ยงมากขึ้น อาจจะเผลอใช้ความเร็วมากเกินไปในการเข้าโค้ง ซึ่งอาจจะก่อให้เกิดอันตรายได้ แต่หลายๆ คน ในยามรีบเร่งก็มีความจำเป็นที่จะต้องทำความเร็ว หนึ่งวิธีที่จะช่วยให้เราไม่ต้องขับขี่ด้วยความเร็วก็คือการเผื่อเวลาเดินทาง และศึกษาเส้นทางก่อนออกเดินทางเสมอ 2. ความไม่พร้อมของผู้ขับขี่ อาการง่วงนอน ความเครียด อาการมึนเมาต่างๆ สิ่งเหล่านี้ล้วนแล้วแต่ทำให้ความสามารถในการขับขี่ลดน้อยลง ซึ่งเมื่อความสามารถลดน้อยลงประสิทธิภาพในการขับขี่ก็มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นสวนทางกัน เพราะฉะนั้นการพักผ่อนอย่างเพียงพอ การดูแลตัวเอง ไม่เครียด และเตรียมความพร้อมร่างกายให้ดีอยู่เสมอ ก็จะช่วยลดความเสี่ยงได้แล้ว 3.

ปัจจัยด้านถนนที่เกี่ยวข้องกับการเกิดอุบัติเหตุ - ศูนย์ข้อมูล&ข่าวสืบสวนเพื่อสิทธิพลเมือง (TCIJ)

สภาพร่างกายของบุคคล อ่อนเพลีย เนื่องจากไม่สบายเป็นไข้แล้วเข้าทำงานหนัก หูหนวก สายตาไม่ดี โรคหัวใจ สภาพร่างกายไม่เหมาะกับงาน 4. สภาพจิตใจของบุคคล ขาดความความตั้งใจในการทำงาน ขาดความสามารถในการควบคุมอารมณ์ในขณะทำงาน ตื่นเต้นง่าย ขวัญอ่อน ตกใจง่าย 5. อุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องจักร มีข้อบกพร่องอาจเนื่องจากสาเหตุ เช่น ใช้เครื่องมือไม่ถูกขนาด ใช้เครื่องมือที่สึกหรอชำรุด ทื่อ หรือหัก ใช้เครื่องมือที่ปราศจากด้ามหรือที่จับที่เหมาะสม ไม่ใช้เครื่องป้องกันอันตราย จับตั้งงานไม่ได้ขนาด และไม่มั่นคง ละเลยต่อการบำรุงรักษา เช่น น้ำมันหล่อลื่นไม่เพียงพอ 6. สภาพของบริเวณปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัย เช่น แสงสว่างไม่เพียงพอ เสียงดังมากเกินไป การระบายอากาศที่ไม่เหมาะสม ความสกปรก บริเวณที่คับแคบ มีสารเคมี และเชื้อเพลิง พื้นที่ลื่น เนื่องจากคราบน้ำมัน หลุมและสิ่งกีดขวางทางเดิน การสูญเสียเนื่องจากการเกิดอุบัติเหตุ การที่เกิดอุบัติเหตุขึ้นแต่ละครั้งย่อมหมายถึงการสูญเสียเกิดขึ้นทุกครั้ง ได้แก่ 1. การสูญเสียโดยตรง ได้รับบาดเจ็บ พิการ หรือตาย และอาจทำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายด้วย ทำให้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร ตลอดจนทรัพย์สินอื่น ๆชำรุดเสียหาย การสูญเสียที่คิดเป็นเงินที่นายจ้างหรือรัฐบาลต้องจ่ายโดยตรง ให้แก่ผู้ที่ได้รับอุบัติเหตุจากการทำงาน เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินทดแทนที่ต้องจ่ายโดยรัฐหรือโรงงาน ค่าทำขวัญ 2.

สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน

  • หลวงปู่หลิวรุ่นพิเศษ
  • โบ ท็ อก ราคา pantip
  • สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน
  • ดู หนัง ออนไลน์ harry potter 4 full movie free
  • โครง งาน สิ่ง ประดิษฐ์ จาก ขยะ
  • 2.ทฤษฎีการเกิดอุบัติเหตุ - อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

2.ทฤษฎีการเกิดอุบัติเหตุ - อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

อุบัติรถบัสโดยสารตกเหว อ. วังเหนือ จ. ลำปาง ทำให้มีผู้เสียชีวิตถึง 22 คน ซึ่งขนส่ง จ. เชียงใหม่ เชื่อว่า มาจากผู้ขับขี่ไม่ชำนาญเส้นทาง โดยเตรียมติดตั้งสัญญาณเตือนเพิ่มเติมในจุดเสี่ยง ขณะที่นักวิชการด้านวิศวกรรม ระบุว่า การปรับปรุงถนนให้มีพื้นผิวขรุขระ เพื่อเพิ่มแรงเสียดทาน กันลื่น อาจช่วยลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุ ในเส้นทางที่ผ่านภูเขาสูงได้ อุบัติเหตุรถบัสโดยสารตกข้างทางบนถนนสายพะเยา-วังเหนือ อ. ลำปาง เมื่อค่ำวันพุธที่ผ่านมา (23 ต. ค. ) เจ้าหน้าที่ยังไม่สรุปสาเหตุว่า มาจากสภาพตัวรถ หรือ คนขับไม่ชำนาญเส้นทาง ขนส่ง จ.

บทความพิเศษ : ถอดบทเรียนเรือล่มอยุธยา 3ปัจจัยเสี่ยง-6ข้อควรแก้ไข #SootinClaimon.Com | SootinClaimon.Com

การรับภาระมากเกินไป (Overload) คือ ความไม่สมดุลของระยะเวลาที่กำหนดให้บุคคลปฏิบัติงานกับปริมาณงานที่ได้รับ เช่น ความล้า ความเครียด ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม เสียง อุณหภูมิ ปัจจัยทางด้านสถานการณ์ ระดับความเสี่ยงของงาน 2. การตอบสนองที่ไม่เหมาะสม (Inappropriate Response) หมายถึง การตอบสนองของบุคคลในการป้องกันอุบัติเหตุเมื่ออยู่ในสถานการณ์ต่างๆ รวมถึงบุคคลที่รับรู้ว่าเป็นอันตรายแต่ไม่ดาเนินการป้องกัน เช่น ถอดเซฟการ์ดออกจากเครื่องจักร 3. การกระทำที่ไม่เหมาะสม (Inappropriate Activities) หมายถึง บุคคลปฏิบัติงานเมื่ออยู่ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ไม่ถูกต้อง เช่น ลงมือปฏิบัติงานทั้งที่ไม่มีความรู้ในงาน ผิดพรากในการประเมินระดับความเสี่ยง 3. ทฤษฏีอุบัติเหตุ/อุบัติการณ์ (Accident/Incident Theory) ขยายเพิ่มมาจากทฤษฏีปัจจัยมนุษย์ โดยแดน ปีเตอร์เชน เพิ่มในเรื่ององค์ประกอบด้านการยศาสตร์ เช่น ขนาด แรงกด ระยะเอื้อม องค์ประกอบด้านอื่นๆ การตัดสินใจผิดพลาด ความล้มเหลวของระบบ หลักการบริหารในการป้องกันอุบัติเหตุ 4. ทฤษฏีระบาดวิทยา (Epidemiological Theory) มีองค์ประกอบสำคัญคือ 1. ลักษณะเฉพาะก่อนการจัดการ หมายถึง บุคคลหรือปัจจัยสิ่งแวดล้อมแต่เดิมก่อนเกิดเหตุการณ์ จะนำไปสู่อุบัติติเหตุ 2.

5.2 สาเหตุการเกิดอุบัติภัยในการทำงาน - 2001-1004 Vocational hygiene and safety

การสูญเสียเนื่องจากการเกิดอุบัติเหตุ 2. การปฎิบัติงานที่ไม่ปลอดภัย หัวหน้างาน 1. ไม่มีการสอนหรืออบรมพนักงานเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน 2. ไม่มีการแนะนำให้พนักงานปฎิบัติตามกฎความปลอดภัยในการทำงาน 3. ไม่มีการวางแผนและเตรียมงานเกี่ยวกับความปลอดภัย 4. ไม่แก้ไขจุดอันตราย 5. ไม่จัดหาและแนะนำอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัย พนักงาน 1. ใช้เครื่องจักรกลโดยพลการ 2. ซ่อมแซมเครื่องกลในขณะเครื่องกำลังทำงาน 3. ใช้เครื่องกลด้วยอัตราเร็ว 4. ยกหรือเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยท่าทางไม่เหมาะสม 5. ไม่สวมใส่อุปกรณ์ป้องกัน

7พฤติกรรมเสี่ยง สาเหตุหลักของการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน - Thaihealth.or.th | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

ไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร ป้ายเตือน ป้ายห้าม ข้อกำหนดต่างๆ บนท้องถนน ล้วนแล้วแต่มีความสำคัญยิ่ง ผู้ขับขี่ทุกคนจึงต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด ยกตัวอย่างป้ายห้ามแซง หรือเส้นแบ่งจราจรเส้นทึบห้ามแซง ในขณะขับขี่หากพบไม่ควรแซงเด็ดขาด เพราะเป็นช่วงถนนที่เราไม่สามารถเห็นรถที่สวนมาได้อย่างชัดเจน และเมื่อแซงขึ้นไปแล้วมีรถสวนมาก็จะก่อให้เกิดอุบัติเหตุร้ายแรงได้ทั้งตัวผู้ขับขี่เอง และผู้ร่วมขับขี่บนท้องถนนคนอื่นด้วย 4. ใช้โทรศัพท์ขณะขับขี่ ในปัจจุบันเราจะสังเกตเห็นได้ว่าผู้ขับขี่หลายๆ คน ยังใช้โทรศัพท์กันในขณะขับขี่ไม่ว่าจะเป็นการคุยโทรศัพท์ หรือแม้กระทั่งเข้าถึงโซเชียลต่างๆ ซึ่งการที่เราละสายตาจากถนนเพียงไม่กี่วินาที อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ ในขณะที่คุณก้มลงดูหน้าจอโทรศัพท์รถคันหน้าอาจจะเบรกกะทันหันทำให้เราเบรกรถไม่ทันได้ หรือแม้แต่การคุยโทรศัพท์แต่สายตายังมองไปบนถนนก็ตาม แต่สมาธิจดจ่ออยู่กับการคุยโทรศัพท์ ก็อาจจะทำให้เราตัดสินใจไม่ทันการเมื่อเกิดเหตุคับขันขึ้น 5. ความไม่พร้อมของรถยนต์ อีกปัจจัยที่มีความสำคัญไม่แพ้กัน หากเมื่อคนพร้อม แต่รถไม่พร้อมแล้วก็อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ ดังนั้นเราควรหมั่นตรวจเช็คสภาพรถให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ สำหรับรถใหม่ก็ควรเข้าตรวจเช็คระยะตามกำหนดให้ครบถ้วน และคอยสังเกตถึงความผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้นได้แม้จะเป็นรถใหม่ก็ตาม เพื่อความไม่ประมาท และสำหรับรถที่มีอายุอานามมากแล้ว ก็ควรตรวจเช็คให้ละเอียดยิ่งขึ้น และไม่ควรปล่อยปละละเลยการเปลี่ยนชิ้นส่วน และการบำรุงรักษาตามระยะ ไม่ว่าจะเป็น การเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่อง ระบบเบรก น้ำมันหล่อลื่นต่างๆ สายพาน เป็นต้น ติดตามข่าวสารยานยนต์ รวดเร็วก่อนใคร ได้ที่

: ขอบคุณแหล่งข้อมูล: หนังสือพิมพ์แนวหน้า วันพฤหัสบดี ที่ 7 ตุลาคม พ. ศ. 2564, 06. 00 น. เมื่อวันที่ 29 ก. ย. 2564 ที่ผ่านมา เกิดเหตุเรือยนต์ที่กำลังลากจูงเรือบรรทุกสินค้า ล่มลงใต้น้ำกลางสามแยกแม่น้ำเจ้าพระยา-แม่น้ำป่าสัก บริเวณท่าน้ำวัดพนัญเชิงวรวิหาร อ. พระนครศรีอยุธยา จ. พระนครศรีอยุธยา ส่งผลให้คนขับเรือและภรรยาจมน้ำสูญหายไปพร้อมเรือจากนั้น ถัดมาอีก 2 วัน ได้เกิดอุบัติเหตุเรือล่มอีกครั้งที่หน้าวัดบางกระจะ อ. พระนครศรีอยุธยา ซึ่งจุดเกิดเหตุทั้ง 2 แห่ง อยู่ไม่ห่างกันมากนัก รศ. ดร.

| วันที่ 13 มิถุนายน 2561 | อ่าน: 12, 295 ที่มา: เว็บไซต์แนวหน้า แฟ้มภาพ กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย(ปภ. )เตือนกิจกรรมที่ทำให้ผู้ขับขี่ขาดสมาธิในขณะขับรถ เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ โดยเฉพาะการคุยโทรศัพท์มือถือ ใช้โทรศัพท์มือถือ รับประทานอาหาร แต่งหน้า ค้นหาหรือหยิบสิ่งของ ดูโทรทัศน์ พร้อมแนะผู้ขับขี่หลีกเลี่ยงการประกอบกิจกรรม หรือใช้อุปกรณ์ที่ต้องละสายตาจากเส้นทาง เพราะส่งผลต่อประสิทธิภาพในการขับรถ หากเกิดเหตุฉุกเฉิน จะไม่สามารถแก้ไขสถานการณ์ได้ทันท่วงที นา ยชยพล ธิติศักดิ์อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย(ปภ. ) กล่าวว่า สมาธิและความพร้อมของผู้ขับขี่นับเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยเพิ่มความปลอดภัยในการเดินทาง โดยผู้ขับขี่ควรหลีกเลี่ยงการประกอบกิจกรรมที่ทำให้ขาดสมาธิในขณะขับรถ เพราะส่งผลให้ประสิทธิภาพในการขับรถลดลง การตัดสินใจแก้ไขเหตุฉุกเฉินเฉพาะหน้าช้ากว่าปกติจึงเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เพื่อความปลอดภัย กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย(ปภ. )ขอเตือนกิจกรรม ที่ทำให้ขาดสมาธิในการขับรถ ดังนี้ 1.

ป้ายจราจรและสัญญาณไฟจราจร คือเครื่องมือที่ช่วยบอกข้อมูลด้านการห้าม การบังคับ การเตือน และการแนะนำที่สำคัญสำหรับผู้ใช้รถใช้ถนน เพื่อช่วยให้การขับขี่มีความปลอดภัยมากขึ้น โดยลักษณะของป้ายจราจรจำเป็นต้องเข้าใจง่าย สังเกตได้ชัดเจนทั้งกลางวันและกลางคืน ตำแหน่งของป้ายมีความเหมาะสมต่อผู้ขับขี่และคนเดินเท้า ที่จะสามารถมองเห็นได้ชัด และต้องมีความชัดเจนไม่ลบเลือนหายไป ตัวอย่างของป้ายจราจร เช่น ป้ายหยุด ป้ายห้ามเลี้ยว เป็นต้น ร่วมเป็นแฟนเพจเฟสบุ๊คกับ TCIJ ออนไลน์ ป้ายคำ

00 –2. 00 เมตรจะมีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุจราจรสูง สำหรับไหล่ทางที่มีความกว้างมากกว่า 2. 50 เมตร พบว่าจะมีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุจราจรเพียงเล็กน้อย 3. ระยะมองเห็นในทางโค้งแนวราบ โดยระยะที่ปลอดภัยนั้นมีความสำคัญอย่างมากสำหรับการควบคุมการขับขี่ยานพาหนะให้ได้รับความปลอดภัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับกรณีของรถบรรทุกซึ่งมีความสามารถตอบสนองต่อการเบรกต่ำ ทั้งนี้ระดับสายตาที่ผู้ขับขี่รถบรรทุกสามารถมองเห็นวัตถุได้สูงกว่ารถยนต์ประเภทอื่นนั้น มีส่วนช่วยให้การชดเชยการตอบสนองต่อการเบรกต่ำของรถบรรทุกชนิดต่างๆได้ แต่หลักเกณฑ์นี้อาจไม่สามารถใช้กับกรณีของรถบรรทุกขนาดใหญ่ได้ ทั้งนี้เพราะเป็นรถที่มีขนาดใหญ่และมีน้าหนักบรรทุกมาก ซึ่งจำเป็นต้องใช้ระยะทางหยุดรถที่ปลอดภัยยาวกว่ารถยนต์ทั่วไป 4. ระยะมองเห็นในทางโค้งแนวดิ่ง โดยระยะมองเห็นในทางโค้งแนวดิ่งบนทางหลวงที่มีข้อจำกัดของระยะมองเห็นที่ปลอดภัยที่บริเวณทางโค้งดิ่งแบบคว่ำ (Crest Curve) จะมีความถี่ต่อการเกิดอุบัติเหตุถึงร้อยละ 52 ของทางโค้งแบบหงาย (Sag Curve) 5. แนวทางราบ ประกอบด้วยส่วนที่เป็นทางตรงและทางโค้ง การออกแบบทางโค้งนั้นมีความสำคัญต่อความสะดวก สบายของผู้ขับขี่เป็นอย่างมากซึ่งจะต้องพิจารณาถึงองค์ประกอบต่างๆคือ รัศมีความโค้ง (Radius of Curve) มุมเปลี่ยนแนว (Deflection Angle of Curve) การยกโค้ง (Super Elevation) และการขยายผิวทางในทางโค้ง (Widening) ซึ่งจากการศึกษาพบว่า จำนวนอุบัติเหตุจราจรบนทางหลวงจะเกิดขึ้นที่บริเวณทางโค้งมากกว่าบริเวณทางตรงถึง 3 เท่าโดยส่วนใหญ่เกิดจากการวิ่งหลุดออกจากทางโค้ง นอกจากนี้ยังพบว่าทางโค้งราบที่มีรัศมีความโค้งต่ำกว่า 600 เมตรจะมีส่วนสนับสนุนให้มีอัตราการเกิดอุบัติเหตุจราจรเพิ่มขึ้น 6.

Sat, 20 Nov 2021 03:47:06 +0000